บริษัททัวร์ โอเชี่ยนสไมล์ทัวร์







 
• ข้อมูลท่องเที่ยวจังหวัดบุรีรัมย์ 
• ข้อมูลท่องเที่ยว อ.เมือง : อ.เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดบุรีรัมย์

อำเภอเมือง
• ศูนย์วัฒนธรรมอีสานใต้ ตั้งอยู่ภายในสถาบันราชภัฏบุรีรัมย์ ถนนจิระ เป็นสถานที่รวบรวมจัดแสดงโบราณวัตถุ ศิลปวัตถุอันมีค่าทางประวัติศาสตร์ โบราณคดีและวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อให้ความรู้แก่ผู้สนใจและเป็นแหล่งข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย นิทรรศการที่จัดแสดงมีหลากหลายหัวข้อ อาทิ นิทรรศการเกี่ยวกับช้าง ชาวส่วย ผ้าพื้นเมือง จิตรกรรมฝาผนัง เครื่องถ้วยและเตาเผาโบราณ วิถีชีวิตชาวอีสาน สภาพภูมิศาสตร์ ชุมชนโบราณของบุรีรัมย์ เปิดทุกวันยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 8.30-19.00 น. วันเสาร์-อาทิตย์เปิดถึงเวลา 16.00 น. สอบถามรายละเอียด โทร. (045) 611211, 617588 ต่อ 159
•
พระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ตั้งอยู่ในตัวเมืองทางไปอำเภอประโคนชัย สร้างในปี พ.ศ. 2539 เพื่อเฉลิมพระเกียรติรัชกาลที่ 1 ปฐมกษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรี ผู้ทรงก่อตั้งเมืองบุรีรัมย์ เมื่อครั้งยังทรงเป็นสมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึก พระบรมราชานุสาวรีย์มีขนาดเท่าครึ่งของพระองค์จริง หล่อด้วยโลหะสัมฤทธิ์ ฉลองพระองค์แบบนักรบตามขัตติยราชประเพณีโบราณ ประทับบนช้างศึก จากจดหมายเหตุประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 7 กล่าวว่า ใน พ.ศ. 2321 สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี โปรดให้สมเด็จพระยามหากษัตริย์ศึกยกทัพไปปราบพระยานางรองซึ่งคบคิดกับเจ้าโอ เจ้าอินแห่งจำปาศักดิ์ ขณะเดินทัพพบเมืองร้างอยู่ที่ลุ่มน้ำห้วยจระเข้มาก มีชัยภูมิดีแต่ไข้ป่าชุกชุม ชาวเขมรป่าดงไม่กล้าเข้ามาอยู่อาศัย แต่ตั้งบ้านเรือนอยู่โดยรอบ จึงรวบรวมผู้คนตั้งเป็นเมืองแปะ และให้บุตรเจ้าเมืองพุทไธสมันซึ่งติดตามมาด้วยเป็นเจ้าเมือง ได้รับบรรดาศักดิ์เป็นพระยานครภักดี ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น “เมืองบุรีรัมย์”
• วนอุทยานเขากระโดง อยู่ห่างจากอำเภอเมือง 6 กิโลเมตร บนเส้นทางสาย บุรีรัมย์-ประโคนชัย (ทางหลวงหมายเลข 219) เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจและเป็นที่ตั้งของภูเขาไฟโบราณซึ่งยังคงปรากฏร่องรอยปากปล่องให้เห็นได้ชัดเจน ปากปล่องภูเขาไฟมีลักษณะเป็นแอ่งน้ำลึก มีน้ำขังตลอดปี ยอดสูงสุดประมาณ 265 เมตรจากระดับน้ำทะเล เป็นที่ประดิษฐาน “พระสุภัทรบพิตร” พระพุทธรูปองค์ใหญ่คู่เมืองบุรีรัมย์และมีปรางค์กู่โบราณ ภายในประดิษฐานพระพุทธบาทจำลอง วนอุทยานนี้มีพันธุ์ไม้พื้นเมืองน่าศึกษาหลายชนิด การเดินทางขึ้นไปยังเขากระโดงสามารถทำได้สองวิธี คือ เดินขึ้นบันได หรือ ขับรถขึ้นไปถึงยอดเขา ระหว่างทางจะพบพระพุทธรูปปางต่างๆ เรียงรายอยู่เป็นระยะ

• อ่างเก็บน้ำกระโดง ตั้งอยู่ด้านหน้าของเขากระโดง จากทางเข้าเขากระโดงมีทางแยกซ้ายมือไปทางเดียวกับค่ายลูกเสือ “บุญญานุศาสตร์” และสวนสัตว์ บริเวณริมอ่างเก็บน้ำเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจที่ดีแห่งหนึ่ง จากจุดนี้สามารถมองเห็นองค์พระสุภัทรบพิตรบนยอดเขากระโดงได้
• อ่างเก็บน้ำห้วยตลาดและสวนนกบุรีรัมย์ อยู่ห่างจากตัวเมือง 12 กิโลเมตร ตามเส้นทางสายบุรีรัมย์-ประโคนชัย (ทางหลวงหมายเลข 219) ในท้องที่ตำบลสะแกซำ กำหนดเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าเมื่อปี 2535 จากการสำรวจพบว่าในแต่ละปีมีนกชนิดต่าง ๆ มาอาศัยอยู่โดยรอบจำนวนกว่า 100 ชนิด โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน-เมษายนจะมีฝูงนกมาอาศัยอยู่มากเป็นพิเศษ บางชนิดใกล้สูญพันธุ์และหาดูได้ยาก เช่น นกเป็ดหงส์ นกเป็ดก่า และนกกาบบัว ในบริเวณบ้านของคุณสวัสดิ์ คชเสนีย์ ได้จัดทำเป็นสวนนก และสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ เหมาะมาเที่ยวชมฝูงนกในยามเย็น ทุกวันเวลาประมาณ 17.00-18.00 น. จะมีฝูงนกยางสีขาวนับหมื่นตัวบินกลับรังเป็นภาพที่น่าชมมาก มีบริการรถชมรอบบริเวณ

อำเภอเฉลิมพระเกียรติ
• อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง อยู่ห่างจากตัวเมืองบุรีรัมย์ลงมาทางทิศใต้ประมาณ 77 กิโลเมตร ประกอบด้วยโบราณสถานสำคัญคือ ปราสาทหินพนมรุ้ง ตั้งอยู่บนยอดภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว สูงประมาณ 200 เมตร (คำว่า “พนมรุ้ง” หรือ “วนํรุง” เป็นภาษาเขมรแปลว่า “ภูเขาใหญ่”)
ปราสาทหินพนมรุ้งเป็นเทวสถานในศาสนาฮินดู ลัทธิไศวนิกาย มีการบูรณะก่อสร้างต่อเนื่องกันมาหลายสมัย ตั้งแต่ประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 ถึงพุทธศตวรรษที่ 17 และในพุทธศตวรรษที่ 18 พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แห่งอาณาจักรขอมได้หันมานับถือพุทธศาสนาลัทธิมหายาน เทวสถานแห่งนี้จึงได้รับการดัดแปลงเป็นศาสนสถานในพุทธศาสนาในช่วงนั้น
• ปราสาทพนมรุ้งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก ประกอบด้วยอาคารและสิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่ตั้งเรียงรายขึ้นไปจากลาดเขาทางขึ้นจนถึงปรางค์ประธานบนยอดอันเปรียบเสมือนวิมานที่ประทับของพระศิวะ บันไดทางขึ้นช่วงแรกทำเป็นตระพัง (สระน้ำ) สามชั้นผ่านขึ้นมาสู่พลับพลาชั้นแรก จากนั้นเป็นทางเดินซึ่งมีเสานางเรียงปักอยู่ที่ขอบทางทั้งสองข้างเป็นระยะๆ ถนนทางเดินนี้ ทอดไปสู่สะพานนาคราช ซึ่งเปรียบเสมือนจุดเชื่อมต่อระหว่างดินแดนแห่งมนุษย์และสรวงสวรรค์ ด้านข้างของทางเดินทางทิศเหนือมีพลับพลาสร้างด้วยศิลาแลง 1 หลัง เรียกกันว่า โรงช้างเผือก สุดสะพานนาคราชเป็นบันไดทางขึ้นสู่ปราสาท ซึ่งทำเป็นชานพักเป็นระยะๆ รวม 5 ชั้น สุดบันไดเป็นชานชลาโล่งกว้าง ซึ่งมีทางนำไปสู่สะพานนาคราชหน้าประตูกลางของระเบียงคด อันเป็นเส้นทางหลักที่จะผ่านเข้าสู่ลานชั้นในของปราสาท และจากประตูนี้ยังมีสะพานนาคราชรับอยู่อีกช่วงหนึ่งก่อนถึงปรางค์ประธาน
• ปรางค์ประธาน ตั้งอยู่ตรงศูนย์กลางของลานปราสาทชั้นใน มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสย่อมุมมณฑป คือห้องโถงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า เชื่อมอยู่ทางด้านหน้าที่ส่วนประกอบของปรางค์ประธานตั้งแต่ฐานผนังด้านบนและด้านล่าง เสากรอบประตู เสาติดผนัง ทับหลัง หน้าบัน ซุ้มชั้นต่างๆ ตลอดจนกลีบขนุนปรางค์ล้วนสลักลวดลายประดับทั้งลวดลายดอกไม้ ใบไม้ ภาพฤาษี เทพประจำทิศ ศิวนาฏราช ที่ทับหลังและหน้าบันด้านหน้าปรางค์ประธาน ลักษณะของลวดลายและรายละเอียดอื่นๆ ช่วยให้กำหนดได้ว่าปรางค์ประธานพร้อมด้วยบันไดทางขึ้นและสะพานนาคราชสร้างขึ้นเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ 17
• ภายในลานชั้นในด้านตะวันตกเฉียงใต้ มีปรางค์ขนาดเล็ก 1 องค์ ไม่มีหลังคา จากหลักฐานทางศิลปกรรมที่ปรากฏ เช่น ภาพสลักที่หน้าบัน ทับหลัง บอกให้ทราบได้ว่าปรางค์องค์นี้สร้างขึ้นก่อนปรางค์ประธาน มีอายุในราวพุทธศตวรรษที่ 16
นอกจากนี้ยังมีฐานปรางค์ก่อด้วยอิฐซึ่งมีอายุเก่าลงไปอีก คือประมาณพุทธศตวรรษที่ 15 อยู่ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือขององค์ประธาน และที่มุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือและทิศตะวันออกเฉียงใต้ มีอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าก่อด้วยศิลาแลง มีอายุราวพุทธศตวรรษที่ 18 ร่วมสมัยกันกับพลับพลาที่สร้างด้วยศิลาแลงข้างทางเดินที่เรียกว่า “โรงช้างเผือก”
• กรมศิลปากรได้ทำการซ่อมแซมและบูรณะปราสาทหินพนมรุ้ง โดยวิธีอนัสติโลซิส (ANASTYLOSIS) คือ รื้อของเดิมลงมาโดยทำรหัสไว้ จากนั้นทำฐานใหม่ให้แข็งแรง แล้วนำชิ้นส่วนที่รื้อรวมทั้งที่พังลงมากลับไปก่อใหม่ที่เดิม โดยใช้วิธีการสมัยใหม่ช่วย และเนื่องในวันอนุรักษ์มรดกไทย ปีพุทธศักราชที่ 2531 ได้มีพิธีเปิดอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้งอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2531 โดยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จพระราชดำเนินเป็นองค์ประธาน
• อุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง เปิดให้เข้าชมทุกวัน เวลา 06.00-18.00 น. ค่าเข้าชมชาวไทย 10 บาท ชาวต่างชาติ 30 บาท สอบถามรายละเอียดได้ที่ สำนักงานอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง โทร. (044) 631746
การเดินทางไปอุทยานประวัติศาสตร์พนมรุ้ง
• รถส่วนบุคคล จากตัวจังหวัดบุรีรัมย์ สามารถเดินทางไป พนมรุ้งได้ 2 เส้นทาง คือ
1.ใช้เส้นทางสายบุรีรัมย์-นางรอง (ทางหลวง 208) ระยะทาง 50 กิโลเมตร เลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงสาย 24 ไป 14 กิโลเมตร ถึงบ้านตะโก เลี้ยวขวาผ่านบ้านตาเป็ก อำเภอเฉลิมพระเกียรติไปพนมรุ้งเป็นระยะทางอีก 12 กิโลเมตร
2.ใช้เส้นทางสายบุรีรัมย์-ประโคนชัย ทางหลวงหมายเลข 23 เป็นระยะทาง 44 กิโลเมตร จากตัวอำเภอประโคนชัย มีทางแยกไปพนมรุ้ง ระยะทางอีก 21 กิโลเมตร (เส้นทางนี้ผ่านทางแยกเข้าปราสาทเมืองต่ำด้วย)
• รถโดยสาร จากสถานีขนส่งบุรีรัมย์ ขึ้นรถสายบุรีรัมย์-จันทบุรี ลงรถที่บ้านตะโกแล้วต่อรถสองแถวหรือมอเตอร์ไซค์รับจ้างไปพนมรุ้ง ควรตกลงราคาค่าโดยสารก่อนเดินทาง
• วัดเขาอังคาร ตั้งอยู่บนเขาอังคารซึ่งเป็นภูเขาไฟที่ดับสนิทแล้ว อยู่ห่างจากปราสาทหินพนมรุ้งไปอีกประมาณ 20 กิโลเมตร จากบุรีรัมย์ใช้เส้นทางสายบุรีรัมย์-นางรอง-บ้านตะโก-บ้านตาเป็ก (ทางเดียวกับไปปราสาทหินพนมรุ้ง) เมื่อเดินทางถึงบ้านตาเป็ก เลี้ยวขวาตามทางไปอำเภอละหานทรายประมาณ 13 กิโลเมตร จะพบทางแยกขวาไปวัดเขาอังคารอีก 7 กิโลเมตร ภายในบริเวณวัดเคยมีการค้นพบโบราณสถานเก่าแก่และใบเสมาหินทรายสมัยทวารวดีหลายชิ้น ปัจจุบันเป็นวัดที่สวยงามใหญ่โตแห่งหนึ่งของบุรีรัมย์ มีการก่อสร้างโบสถ์ ศาลาและอาคารต่าง ๆ เลียนแบบสถาปัตยกรรมสมัยต่างๆ หลายรูปแบบ ภายในโบสถ์ มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องราวพุทธชาดกเป็นภาษาอังกฤษด้วย

บุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทพนมรุ้ง ปราสาทเมืองต่ำ โรงแรมบุรีรัมย์
เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม
•  ข้อมูลท่องเที่ยว จังหวัดบุรีรัมย์  
ทัวร์โปรโมชั่น

สอบถามทัวร์ทาง Line
• ติดต่อโอเชี่ยนสไมล์ทัวร์ (เปิดทำการแล้วครับ)
• กรุ๊ปเหมาในประเทศ-ต่างประเทศ สัมนา ดูงาน เที่ยวส่วนตัว
• สำนักงานโทร.0-2969 3664, 0-2949 5134-36
• ID LINE : @oceansmiletour
• คุณเล็ก โทร.082-3656241
• ID Line : lekocean2
• คุณโจ้ โทร.093-6468915
• ID Line : oceansmile
• โปรแกรมทัวร์
ทัวร์น้ำตกทีลอซู
• TAK-2 : อุ้มผาง - ล่องแก่ง - น้ำตกทีลอซู - ดอยหัวหมด - ริมเมย
• กรุ๊ปหมู่คณะเดินทางได้ทุกวัน
ทัวร์ลาวใต้ • LAO-1 : ลาวใต้ ปากเซ ปราสาทวัดพู น้ำตกคอนพะเพ็ง แก่งหลี่ผี ตาดผาส้วม
• กรุ๊ป 4 ท่านเดินทางได้ทุกวัน
หลวงพระบาง หนองเขียว • LAO-4: นั่งรถไฟความเร็วสูง หลวงพระบาง หนองเขียว พระราชวังหลวง วังเวียง เวียงจันทน์ (4 วัน)
• กรุ๊ป 6 ท่านเดินทางได้ทุกวัน
ทัวร์หลวงพระบาง
ทัวร์บาหลี บุโรพุทโธ
ทัวร์ศรีลังกา • SR-51 : ศรีลังกา วัดพระเขี้ยวแก้ว แคนดี้ ถ้ำดัมบูลล่า สิกิริยา กอลล์ โคลัมโบ วัดคงคาราม
• วันที่ 31 ธันวาคม - 4 มกราคม
ทัวร์เนปาล • Nepal-431 : เนปาล กาฐมาณฑุ เมืองปักตะปูร์ เมืองปาทัน ธุลิเขล
• กรุ๊ป 4 ท่านเดินทางได้ทุกวัน
ทัวร์ถ้ำอชันต้า
ทัวร์อินเดีย
• INDIA-877 : อินเดีย เนปาล พุทธคยา ราชคฤห์ กุสินารา ลุมพินี สาวัตถี แม่น้ำคงคา พารานสี (บินตรงพุทธคยา WE)
• วันที่ 4 - 11 ธันวาคม 2565
• วันที่ 25 ธันวาคม - 1 มกราคม
ทัวร์แคชเมียร์ • INDIA-761 : แคชเมียร์ ล่องเรือทะเลสาบดาล พาฮาลแกม ศรีนาคา กุลมาร์ค โซนามาร์ค (TG)
• วันที่ 13 - 19 ตุลาคม 2565
• วันที่ 30 ธันวาคม - 5 มกราคม
แคชเมียร์ ทัชมาฮาล • INDIA-871: แคชเมียร์ ทัชมาฮาล อัคราฟอร์ท พาฮาลแกม ศรีนาคา กุลมาร์ค โซนามาร์ค (TG)
• วันที่ 9 - 16 เมษายน 2566
• วันที่ 12 - 19 เมษายน 2566
ทัวร์นรวัด
• KHM-2 : นครวัด นครธม เบ็งเมเลีย บันทายสรี ปราสาทตาพรหม ล่องโตนเลสาบ
• วันที่ 3 - 5 ธันวาคม 2565
• วันที่ 30 ธันวาคม - 1 มกราคม
นครวัด
• KHM-12 : นครวัด นครธม เบ็งเมเลีย บันทายสรี ปราสาทตาพรหม (FD)
• กรุ๊ป 2 ท่านเดินทางได้ทุกวัน
เธจเธนเธ™เธขเนŒเธงเธฑเธ’เธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธญเธตเธชเธฒเธ™เนƒเธ•เน‰ เธ›เธฃเธฒเธชเธฒเธ—เธซเธดเธ™เธžเธ™เธกเธฃเธธเน‰เธ‡ เธˆเธฑเธ‡เธซเธงเธฑเธ”เธšเธธเธฃเธตเธฃเธฑเธกเธขเนŒ เธšเธฃเธดเธฉเธฑเธ—เธ—เธฑเธงเธฃเนŒ เน‚เธญเน€เธŠเธตเนˆเธขเธ™เธชเน„เธกเธฅเนŒเธ—เธฑเธงเธฃเนŒ
โ€ข tadalafil standard dose
โ€ข เธ•เธดเธ”เธ•เธฒเธกเธ‚เนˆเธฒเธงเธชเธฒเธฃเธ‚เธญเธ‡เน€เธฃเธฒ
เธขเธนเธ—เธนเธ› เน‚เธญเน€เธŠเธตเนˆเธขเธ™เธชเน„เธกเธฅเนŒเธ—เธฑเธงเธฃเนŒ
เน€เธŸเธชเธšเธธเธเธชเนŒ เน‚เธญเน€เธŠเธตเนˆเธขเธ™เธชเน„เธกเธฅเนŒเธ—เธฑเธงเธฃเนŒ


โ€ข เนเธกเนˆเธฎเนˆเธญเธ‡เธชเธญเธ™
โ€ข เธ›เธฒเธ‡เธญเธธเน‹เธ‡
โ€ข เธ—เธธเนˆเธ‡เธ”เธญเธเธšเธฑเธงเธ•เธญเธ‡
โ€ข เธ–เน‰เธณเนเธเน‰เธงเน‚เธเธกเธฅ
โ€ข เธˆเธฑเธ‡เธซเธงเธฑเธ”เธ™เนˆเธฒเธ™
โ€ข เธ”เธญเธขเธ เธนเธ„เธฒ
โ€ข cialis generic 5mg
โ€ข เธžเธฃเธฐเธ˜เธฒเธ•เธธเธ”เธญเธขเธ•เธธเธ‡
โ€ข เธ”เธญเธขเธญเนˆเธฒเธ‡เธ‚เธฒเธ‡





โ€ข เธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธ—เนˆเธญเธ‡เน€เธ—เธตเนˆเธขเธงเธˆเธฑเธ‡เธซเธงเธฑเธ”เธšเธธเธฃเธตเธฃเธฑเธกเธขเนŒ 
โ€ข เธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเธ—เนˆเธญเธ‡เน€เธ—เธตเนˆเธขเธง เธญ.เน€เธกเธทเธญเธ‡ : เธญ.เน€เธ‰เธฅเธดเธกเธžเธฃเธฐเน€เธเธตเธขเธฃเธ•เธด เธˆเธฑเธ‡เธซเธงเธฑเธ”เธšเธธเธฃเธตเธฃเธฑเธกเธขเนŒ

เธญเธณเน€เธ เธญเน€เธกเธทเธญเธ‡
โ€ข เธจเธนเธ™เธขเนŒเธงเธฑเธ’เธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธญเธตเธชเธฒเธ™เนƒเธ•เน‰ เธ•เธฑเน‰เธ‡เธญเธขเธนเนˆเธ เธฒเธขเนƒเธ™เธชเธ–เธฒเธšเธฑเธ™เธฃเธฒเธŠเธ เธฑเธเธšเธธเธฃเธตเธฃเธฑเธกเธขเนŒ เธ–เธ™เธ™เธˆเธดเธฃเธฐ เน€เธ›เน‡เธ™เธชเธ–เธฒเธ™เธ—เธตเนˆเธฃเธงเธšเธฃเธงเธกเธˆเธฑเธ”เนเธชเธ”เธ‡เน‚เธšเธฃเธฒเธ“เธงเธฑเธ•เธ–เธธ เธจเธดเธฅเธ›เธงเธฑเธ•เธ–เธธเธญเธฑเธ™เธกเธตเธ„เนˆเธฒเธ—เธฒเธ‡เธ›เธฃเธฐเธงเธฑเธ•เธดเธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ เน‚เธšเธฃเธฒเธ“เธ„เธ”เธตเนเธฅเธฐเธงเธฑเธ’เธ™เธ˜เธฃเธฃเธกเธ—เน‰เธญเธ‡เธ–เธดเนˆเธ™ เน€เธžเธทเนˆเธญเนƒเธซเน‰เธ„เธงเธฒเธกเธฃเธนเน‰เนเธเนˆเธœเธนเน‰เธชเธ™เนƒเธˆเนเธฅเธฐเน€เธ›เน‡เธ™เนเธซเธฅเนˆเธ‡เธ‚เน‰เธญเธกเธนเธฅเน€เธžเธทเนˆเธญเธเธฒเธฃเธ„เน‰เธ™เธ„เธงเน‰เธฒเธงเธดเธˆเธฑเธข เธ™เธดเธ—เธฃเธฃเธจเธเธฒเธฃเธ—เธตเนˆเธˆเธฑเธ”เนเธชเธ”เธ‡เธกเธตเธซเธฅเธฒเธเธซเธฅเธฒเธขเธซเธฑเธงเธ‚เน‰เธญ เธญเธฒเธ—เธด เธ™เธดเธ—เธฃเธฃเธจเธเธฒเธฃเน€เธเธตเนˆเธขเธงเธเธฑเธšเธŠเน‰เธฒเธ‡ เธŠเธฒเธงเธชเนˆเธงเธข เธœเน‰เธฒเธžเธทเน‰เธ™เน€เธกเธทเธญเธ‡ เธˆเธดเธ•เธฃเธเธฃเธฃเธกเธเธฒเธœเธ™เธฑเธ‡ เน€เธ„เธฃเธทเนˆเธญเธ‡เธ–เน‰เธงเธขเนเธฅเธฐเน€เธ•เธฒเน€เธœเธฒเน‚เธšเธฃเธฒเธ“ เธงเธดเธ–เธตเธŠเธตเธงเธดเธ•เธŠเธฒเธงเธญเธตเธชเธฒเธ™ เธชเธ เธฒเธžเธ เธนเธกเธดเธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ เธŠเธธเธกเธŠเธ™เน‚เธšเธฃเธฒเธ“เธ‚เธญเธ‡เธšเธธเธฃเธตเธฃเธฑเธกเธขเนŒ เน€เธ›เธดเธ”เธ—เธธเธเธงเธฑเธ™เธขเธเน€เธงเน‰เธ™เธงเธฑเธ™เธซเธขเธธเธ”เธ™เธฑเธเธ‚เธฑเธ•เธคเธเธฉเนŒ เน€เธงเธฅเธฒ 8.30-19.00 เธ™. เธงเธฑเธ™เน€เธชเธฒเธฃเนŒ-เธญเธฒเธ—เธดเธ•เธขเนŒเน€เธ›เธดเธ”เธ–เธถเธ‡เน€เธงเธฅเธฒ 16.00 เธ™. เธชเธญเธšเธ–เธฒเธกเธฃเธฒเธขเธฅเธฐเน€เธญเธตเธขเธ” เน‚เธ—เธฃ. (045) 611211, 617588 เธ•เนˆเธญ 159
โ€ข
เธžเธฃเธฐเธšเธฃเธกเธฃเธฒเธŠเธฒเธ™เธธเธชเธฒเธงเธฃเธตเธขเนŒเธžเธฃเธฐเธšเธฒเธ—เธชเธกเน€เธ”เน‡เธˆเธžเธฃเธฐเธžเธธเธ—เธ˜เธขเธญเธ”เธŸเน‰เธฒเธˆเธธเธฌเธฒเน‚เธฅเธ เธ•เธฑเน‰เธ‡เธญเธขเธนเนˆเนƒเธ™เธ•เธฑเธงเน€เธกเธทเธญเธ‡เธ—เธฒเธ‡เน„เธ›เธญเธณเน€เธ เธญเธ›เธฃเธฐเน‚เธ„เธ™เธŠเธฑเธข เธชเธฃเน‰เธฒเธ‡เนƒเธ™เธ›เธต เธž.เธจ. 2539 เน€เธžเธทเนˆเธญเน€เธ‰เธฅเธดเธกเธžเธฃเธฐเน€เธเธตเธขเธฃเธ•เธดเธฃเธฑเธŠเธเธฒเธฅเธ—เธตเนˆ 1 เธ›เธเธกเธเธฉเธฑเธ•เธฃเธดเธขเนŒเนเธซเนˆเธ‡เธฃเธฒเธŠเธงเธ‡เธจเนŒเธˆเธฑเธเธฃเธต เธœเธนเน‰เธ—เธฃเธ‡เธเนˆเธญเธ•เธฑเน‰เธ‡เน€เธกเธทเธญเธ‡เธšเธธเธฃเธตเธฃเธฑเธกเธขเนŒ เน€เธกเธทเนˆเธญเธ