วัดชันกังคา (Changangkha) เมืองทิมพู |
เมืองทิมพู เมืองหลวงภูฏาน |
เมืองทิมพู เมืองหลวงภูฏาน |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
คลิปวัดชันกังคา
(Changangkha) เมืองทิมพู |
|
|
วัดชันกังคา
(Changangkha) เมืองทิมพู |
|
|
วัดชันกังคา
(Changangkha) เมืองทิมพู |
|
|
วัดชันกังคา
(Changangkha) เมืองทิมพู |
|
|
วัดชันกังคา (Changnagkha Lhakhang)
วัดของลามะ เทวะผู้บ้าคลั่ง
วัดชันกังคา เป็นวัดที่อยู่บนสันเขาเหนือเมืองทิมพู ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของโมติตัง
กำแพงสีขาวของวัดเป็นจุดเด่นที่มองเห็นได้แต่ไกล เป็นหนึ่งในวัดเก่าแก่ที่สุดในเมืองทิมพู
พระลามะทิเบตเป็นผู้สร้างขึ้นในศตวรรษที่ 15 โดยลูกหลานของท่านพะโจ
ดรุ๊กกอม ชิโป พระประธานของวัดคือ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร
งานจิตรกรรมฝาผนังที่ฝั่งตรงข้ามกับประตูทางเข้ามีความพิเศษอยู่ที่ภาพของท่านซังปา
กาเร เยเช โดร์จี ผู้ตั้งนิกายดรุ๊กปะขึ้นในทิเบต วัดแห่งนี้ได้รับการบูรณะขึ้นในปี
ค.ศ.1998-1999
ในสมัยก่อนวัดทำหน้าที่เป็นทั้งอารามและป้อมปราการที่มีไว้สำหรับป้องกันการบุกรุกของข้าศึกศัตรูที่มารุกรานภูฏาน
ลานอเนกประสงค์ของวัดเป็นจุดชมวิวทิมพูสำหรับผู้ที่มาท่องเที่ยวภูฏานได้เป็นอย่างดี |
วัดชันกังคา
(Changangkha) เมืองทิมพู |
|
|
วัดชันกังคา
(Changangkha) เมืองทิมพู |
|
|
วัดชันกังคา
(Changangkha) เมืองทิมพู |
|
|
วัดชันกังคา
(Changangkha) เมืองทิมพู |
|
|
วัดชันกังคา
(Changangkha) เมืองทิมพู |
|
|
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
วัดชันกังคา (Changangkha) |
อนุสรณ์สถานชอร์เตน
สถูปอนุสรณ์ (National Memorial Chorten)
เมืองทิมพู |
เมมโมเรียลโชเตน เที่ยวภูฏาน |
เมมโมเรียลโชเตน เที่ยวภูฏาน |
เมมโมเรียลโชเตน ภูฏาน |
เมมโมเรียลโชเตน ภูฏาน |
อนุสรณ์สถานชอร์เตน
สถูปอนุสรณ์ (National Memorial Chorten)
เมืองทิมพู |
|
|
อนุสรณ์สถานชอร์เตน
สถูปอนุสรณ์ (National Memorial Chorten)
1 |
|
|
อนุสรณ์สถานชอร์เตน
สถูปอนุสรณ์ (National Memorial Chorten)
2 |
|
|
อนุสรณ์สถานชอร์เตน สถูปอนุสรณ์(National
Memorial Chorten) สถาปัตยกรรมกลางเมือง
อนุสรณ์สถานแห่งชาติ ชอร์เตน (ชอร์เตน แปลว่า เจดีย์)
หรือ สถูป เป็นสถาปัตยกรรมแบบภูฏาน เป็นสถูปกลางเมืองที่สร้างขึ้นเมื่อปี
ค.ศ. 1974 สร้างเพื่อถวายพระเกียรติแด่สมเด็จพระราชาธิบจิกมี
ดอร์จิ วังชุก พระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 ของภูฏาน ผู้เสด็จสวรรคตเมื่อปี
ค.ศ. 1972 ภายในไม่มีพระบรมศพบรรจุอยู่ แต่มีเพียงพระบรมฉายาลักษณ์ประดับด้วยผ้าแถบประดิษฐานอยู่ที่ชั้นล่าง
เป็นเครือ่งเตือนให้รำลึกว่า สถูปนี้สร้างขึ้นเพื่อยังพระราชประสงค์ของพระองค์ให้ปรากฎเป็นจริง
กล่าวคือ ทรงดำริจะสร้างสัญลักษณ์แทนตรีภาคของพระพุทธองค์ขึ้นประดิษฐานไว้ในโลก
จึงโปรดให้จารึกพระธรรมคำสอนลงบนแผ่นทองเป็นสัญลักษณ์แทนภาควจี
สร้างพระพุทธรูป 1,000 องค์ขึ้นเป็นสัญลักษณ์แทนภาคกาย ส่วนสถูปที่เป็นสัญลักษณ์แทนภาคมโนนั้นสร้างยังไม่ทันเสร็จ
พระองค์ก็เสด็จสวรรคตไปเสียก่อนพระราชชนนีอาชิพุนโซ โชกรน
จึงสร้างต่อเพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงพระปิโยรส
ทางเข้าสู่องค์สถูปเป็นสวนเล็ก
ประตูสวนมีงานจำหลักหินชนวนประดับทั้งด้านนอกและด้านใน ด้านนอกสลักเป็นรูปพระโพธิสัตว์ทั้งสาม
คือ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรผู้ทรงความเมตตา พระโพธิสัตว์มัญชุศรีผู้ทรงปัญญา
และพระโพธิสัตว์งวัชรปราณีผู้เป็นตัวแทนแห่งอำนาจ ด้านในเป็นรูปท่านซับดรุงงาวังนัมเกล
พระศรีศากยมุนี และคุรุรรินโปเซ ด้านซ้ายมือมีกระบอกมนต์ขนาดใหญ่ตั้งเรียงรายและหมุนวนไม่ให้หยุดด้วยแรงมือของสาธุชนผู้ตั้งใจมาสักการะบูชาองค์สถูป
ตำนานฝ่ายนิกายญิงมาปะเล่าว่า
บุตรชายของท่านดูจมรินโปเซ นามว่า ดุงเซรินโปเซ เคยทำนายถึงการสร้างสถูปนี้เอาไว้
จุดเด่นของสถูปอยู่ที่รูปลักษณ์ที่เป็นทั้งสถูปและวิหารในหนึ่งเดียว
ด้านซ้ายมีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ประดิษฐานอยู่ เป็นรูปพระศรีศากยมุนีพุทธเจ้า
มองเห็นได้ชัดจากข้างนอก ด้านข้างขององค์สถูปสร้างมุขเล็กๆ
เอาไว้ทั้งสี่ทิศ รูปปั้นนั้นมีอยู่ทุกขนาดทุกรูปแบบ และอาจสร้างความตระหนกให้กับผู้มาชมได้
เทพเจ้าฝ่ายตันตระนั้นมีอยู่ทั้งภาคดีและภาคร้าย ภาคดุร้ายจะสำแดงเพื่อปราบปิศาจโดยเฉพาะ
สถูกประกอบด้วยสามชั้น ชั้นล่างของสถูปทำเป้นรูปมณฑลคำสอนของเทพพุรปาทั้งหมด
ชั้นถัดมาเป็นมณฑลกาเก (ใช้ปราบปิศาจร้ายทั้งแปดชนิด) ส่วนชั้นบนสุดเป็นมณฑลคำสอนของลามะกนดู
มณฑลทั้งสามนี้ประมวลคำสอนอันลี้ลับของนิกายญิงมาปะเข้าไว้ด้วยกันท้้งหมด
เป็นคำสอนในคัมภีร์ที่คุรุรินโปเซทรงซุกซ๋อนไว้ให้ชนรุ่นหลังมาค้นพบในเวลาอันเหมาะสม
ลามะตรักตุง ดูยุม ลิงปา (นิรมาณกายแรกของท่านดูจมรินโปเซ)
เป็นผู้ค้นพบมณฑลเทพพุรปาในศตวรรษที่ 19 ลามะนยังเรลเยียมา
เยอเซค้นพบคัมภีร์กาเกในศตวรรษที่ 12 ในขณะที่ลามะซังเก
ลิงปะ ค้นพบมณฑลคำสอนของลาะกนดูในศตวรรษที่ 14 |
อนุสรณ์สถานชอร์เตน
สถูปอนุสรณ์ (National Memorial Chorten)
เมืองทิมพู |
|
|
อนุสรณ์สถานชอร์เตน
สถูปอนุสรณ์ (National Memorial Chorten)
เมืองทิมพู |
|
|
อนุสรณ์สถานชอร์เตน
สถูปอนุสรณ์ (National Memorial Chorten)
เมืองทิมพู |
|
|
เมมโมเรียลโชเตน ภูฏาน |
เมมโมเรียลโชเตน ภูฏาน |
เมมโมเรียลโชเตน ภูฏาน |
เมมโมเรียลโชเตน ภูฏาน |